สมุทร รับงาน

Posted on: สิงหาคม 12, 2017, by :

สำเร็จ ไปเป็นพื้นหล่อกับที่ ยามที่หาพื้นสำเร็จตามแบบไม่ได้ โดยมักจะบอกกับเจ้าของอาคารว่า..”เหมือนกัน”

ธรรมชาติของพื้นทั้งสองระบบนี้แตกต่างกันมาก และทาให้อาคารของท่านพังลงมาได้ง่ายๆ…หากลองวิเคราะห์ขั้นพื้นฐานของการรับแรงในคานดูจะเห็นได้ถึงความแตกต่างอย่างเด่นชัด

พื้นสำเร็จเป็นการวางแผ่นพื้นลงบนคานสองด้านคือหัวและท้าย สมมุติว่าพื้นทั้งผืนขนาด 6 x 6 เมตร รวมเป็นพื้นที่ 36 ตร.ม. ต้องการให้รับน้าหนักได้ ตร.ม.ละ 200 กก. ทาให้จะต้องรับน้าหนักได้ = 36 x 200 = 7,200 กก. และน้าหนัก 7,200 กก. นั้นจะถ่ายลงบนคานหัวท้ายสองข้างคานหัวท้ายจะแบ่งน้าหนักกันรับตัวละ = 7,200/2 =3,600 กก. โดยที่คานด้านข้างอีกสองตัวอาจจะไม่ได้รับแรงกดอะไรเลย ทาหน้าที่เป็นตัวยึดเท่านั้น….เมื่อเปลี่ยนพื้นสำเร็จเป็นพื้นหล่อกับที่ การถ่ายน้าหนักจะถ่ายลงยังคานทั้ง 4 ตัว (ด้าน) ทาให้คานแต่ละตัวต้องรับน้าหนัก = 7,200/4 = 1,800 กก. ค้านด้านข้างทั้งสองที่ออกแบบไม่ให้รับน้าหนักอะไรเลยก็ต้องรับน้าหนัก 1,800 กก. ทาให้คานนั้นหักได้

โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้ามีพื้นต่อเนื่องทางด้านข้างอีก คานที่ไม่ได้ออกแบบมาให้รับน้าหนักอาจจะต้องรับน้าหนัก 3,600 กก ที่เดียว ส่วนคานด้านหัวท้ายออกแบบมาให้รับน้าหนัก 3,600 กก กลับมีน้าหนักลงเพียง 1,800 กก ซึ่งอาจจะทาให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ต่อเนื่องได้

ทานองเดียวกัน หากเปลี่ยนพื้นหล่อกับที่ธรรมดามาเป็นพื้นสำเร็จ คานที่ออกแบบหัวท้ายรับเฉลี่ย 4 ส่วน ต้องมารับเฉลี่ยเพียง 2 ส่วน ก็จะรับน้าหนักมากไปและจะเกิดการวิบัติได้ (ออกแบบไว้รับได้ 1,800 กก ต้องมารับ 3,600 กก.)

เสาเข็มมีกี่อย่าง แล้วจะเลือกใช้อย่างไร ?

เสาเข็มโดยทั่วไปจะแยกออกเป็นสำคัญ 2 ประเภท คือ เสาเข็มตอกและเสาเข็มเจาะ (ส่วนเสาเข็มพิเศษอื่นๆ เช่น Micro Pile นั้น หากไม่ใช่วิศวกรก็ไม่น่าจะไปสนใจ) …เสาเข็มตอกและเสาเข็มเจาะเองก็ยังสามารถแยกออกได้เป็นอย่างละอีก 2 ประเภท ซึ่งโดยสรุปรวมวิธีการทางาน และจุดดีจุดด้อยน่าจะสรุปพอเป็นสังเขปได้ดังต่อไปนี้